by phummarin | May 1, 2019 | บทความ
หนึ่งในประกาศมาตรการลดพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้งในจุฬาฯคือขอให้ร้านค้าในโรงอาหารเปลี่ยนจากแก้วพลาสติกเดิมเป็นแก้วใช้ล้างซ้ำได้หรือ zero-waste cup เพราะการจัดการขยะประเภทแก้วพลาสติกใช้ทั้งเวลาและงบประมาณ ด้วยมูลค่าแก้ว zero-waste...
by phummarin | May 1, 2019 | บทความ
จากที่ผ่านมาจุฬาฯ มีการจัดงานวิ่งแบบ green running มาหลายงานแล้ว ทั้งก้าบคนละก้าบจากคณะนิเทศศาสตร์ เคมีรันจากภาควิชาเคมี และงานวิ่งสร้างเมืองจากคณะสถาบัตย์ที่เพิ่งจบไป และมีหลายส่วนงานหลายคณะติดต่อเข้ามาอยากรู้กลเม็ดเคล็ดลับที่ทีมงานมอบให้กับทุกงาน CHULA zero waste...
by phummarin | Apr 18, 2019 | บทความ
พลาสติกย่อยสลายได้แบบ “EDP” ที่แท้จริงต้องได้มาตรฐาน compostable plastics ตามข้อกำหนดพลาสติกสลายตัวได้ เช่น ISO 17088 (สากล) หรือ ASTM D6400 (สหรัฐอเมริกา) หรือ EN 13432 (ยุโรป) หรือ มอก.17088-2555 (ไทย) การผสมสารที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพ เช่น สารกลุ่มแป้ง...
by phummarin | Feb 8, 2019 | ข่าว
CHULA zero waste เก็บภาพบรรยากาศงาน Nitade Chula Fund Run ก้าบคนละก้าบ งานวิ่งที่ไม่จริงจังเรื่องวิ่งแต่จริงจังเรื่องการจัดการขยะ ทีมงานก้าบกรีนกันจริงจังโดยเริ่มจากขอความร่วมมือให้ทุกร้านค้าใช้แก้วกระดาษ ภาชนะชานอ้อย ช้อนส้อมพลาสติกชีวภาพด้วยละ...
by phummarin | Feb 3, 2019 | บทความ
ถ้าใครคุ้นๆ คำว่า “พลาสติกย่อยสลายได้” “ถุงใบนี้ย่อยสลายได้ในธรรมชาติ” “ถุงนี้สามารถย่อยสลายได้ในแสงแดด” (ถ้าเป็นแดดเมืองไทยจะย่อยเร็วหน่อย) หรือ “degradable bag” “This bag is oxo-biodegradable” บลาๆๆ ที่ปรากฎหราบนถุงพลาสติกที่เรารับมา เสียใจด้วยจริงๆ...